แผ่นกรองอากาศต้องมีกี่ชั้นกันนะ ถึงจะสามารถกรองฝุ่น PM 2.5 ได้

 

ไทยฟิลเตอร์ ซัพพลาย


       สำหรับยุคปัจจุบันแผ่นกรองอากาศ หรือ แผ่นกรองนั้นถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก เนื่องจากปัญหาของฝุ่น  PM2.5 ที่เพิ่มขึ้นในทุกๆวัน ส่งผลให้ผู้บริโภคเริ่มหันมาสนใจเลือกซื้อเครื่องฟอกอากาศกันมากขึ้น และแน่นนอนส่วนประกอบที่ช่วยให้เครื่องฟอกอากาศสามารถทำงานได้มีประสิทธิภาพสูงสุดก็คือ แผ่นกรองอากาศ ซึ่งปกติเครื่องกรองอากาศที่ดีและมีประสิทธิภาพในการกรองฝุ่น PM 2.5 ได้สูงนั้น จะต้องมีแผ่นกรองอากาศไม่น้อยกว่า 3 ชั้น 

 

ชั้นของแผ่นกรองอากาศที่สามารถกรองฝุ่น PM2.5 ดังนี้

 

แผ่นกรองชั้นแรก (Pre Filter) 


• แผ่นกรองชั้นแรก (Pre Filter) 
เป็นแผ่นกรองที่อยู่ชั้นนอก หรือแผ่นกรองหยาบ โดยอยู่ชั้นนอกสุด มีลักษณะเป็นตาข่ายถี่ๆ หรือเป็นแผ่นฟองน้ำ ซึ่งแผ่นกรองชนิดนี้มีตาข่ายที่ค่อนข้างใหญ่กว่าแผ่นกรองชนิดอื่น เป็นแผ่นกรองอากาศที่ผู้ใช้สามารถนำออกมาทำความสะอาดด้วยการล้างหรือซักเองได้ ดังนั้น จึงมีหน้าที่กรองฝุ่นที่ยังคงมีขนาดใหญ่ไม่เกิน 10 ไมครอนไม่ให้เข้าไปด้านใน ช่วยให้การทำงานของแผ่นกรองอากาศในชั้นถัดที่ 2-3 ไม่ต้องทำงานหนักจนเกินไป

 

 

 แผ่นกรองชั้นสอง (HEPA Filter) 


• แผ่นกรองชั้นสอง (HEPA Filter) 
เป็นแผ่นกรองที่อยู่ถัดไปจากชั้นแรก ซึ่งแผ่นกรองนี้เป็นชั้นที่สามารถกรองฝุ่น PM2.5 ได้ เนื่องจากเป็นแผ่นกรองอากาศชั้นที่ละเอียด ผลิตจากไฟเบอร์กลาส ที่ละเอียดมากกว่าแผ่นกรองชั้นแรก ซึ่งมีหน้าที่กรองฝุ่นต่างๆ โดยจะเริ่มกรองฝุ่นได้ตั้งแต่ 0.3 ไมครอนเป็นต้นไป รวมทั้งฝุ่นละอองหรือฝุ่นผงชนิดอื่น เช่น ละอองเกสรดอกไม้ ไรฝุ่น เชื้อโรค ดังนั้น เมื่อผ่านการกรองชั้นนี้แล้ว ก็จะมีเพียงอากาสบริสุทธิ์เท่านั้นที่จะสามารถผ่านชั้นกรองนี้ไปได้ วิธีที่จะช่วยถนอมให้แผ่นกรองชั้นนี้ใช้ได้ยาวนานก็เพียงแค่ ไม่ควรทำความสะอาดด้วยน้ำ ด้วยผงซักฟอก หรือน้ำยาทำความสะอาดต่างๆ เท่านั้น เพราะจะทำให้แผ่นกรองชนิดนี้เสื่อมหรือเสียเร็วขึ้น

 

 

แผ่นกรองคาร์บอน


• แผ่นกรองกลิ่นไม่พึงประสงค์ หริอคาร์บอนฟิลเตอร์ (CARBON FILTER)
แผ่นกรองชนิดนี้ผลิตโดยใช้ส่วนผสมของคาร์บอนเป็นหลัก มีหน้าที่ดูดซับกลิ่นเหม็นหรือกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ต่างๆ เช่นกลิ่นอาหาร กลิ่นอับ กลิ่นบุหรี่ กลิ่นน้ำยาย้อมผม และกลิ่นก๊าซต่างๆ โดยหลักๆ แล้วหากเป็นเครื่องฟอกอากาศมักจะมีเพียงแผ่นกรอง 3-5 ชั้นเท่านั้น แต่ก็พบว่ายังมีเครื่องฟอกอากาศรุ่นที่ราคาถูก ซึ่งตัวเครื่องมีขนาดที่ไม่ใหญ่มาก และมักผลิตโดยใช้แผ่นกรองแบบรวมคุณสมบัติของแผ่นกรองทั้ง 3 ชนิดไว้ทั้งหมด แผ่นกรองชนิดนี้มักทำความสะอาดไม่ได้เลย เมื่อครบอายุการใช้งานก็จะต้องทำการเปลี่ยนใหม่เพียงอย่างเดียว ซึ่งเครื่องฟอกอากาศชนิดนี้จะเหมาะกับการใช้ในรถยนต์หรือในห้องที่มีพื้นที่น้อยๆ สำหรับห้องที่มีขนาดใหญ่ควรเลือกเครื่องฟอกอากาศที่มีขนาดใหญ่กว่านี้จะเหมาะสมกว่า 

 

บริษัท ไทยฟิลเตอร์ ซัพพลาย


       ดังนั้นเวลาเลือกซื้อเครื่องกรองอากาศหรือไส้กรองอากาศไปเปลี่ยน จึงควรศึกษารายละเอียดให้ดี เพื่อให้เครื่องกรองอากาศทำงานได้เต็มประสิทธิภาพและดีต่อสุขภาพของคนภายในอาคารหรือบ้าน บริษัท ไทยฟิลเตอร์ ซัพพลาย จำกัด มีประสบการณ์ทางด้าน ฟิลเตอร์ระบบปรับอากาศ Filtration ทั้งอากาศและของเหลวมามากกว่า 30 ปี พัฒนาตัวกรองชนิดต่าง ๆ ตามความต้องการของลูกค้า บริการติดตั้งและตรวจสอบสภาพการทำงานของอุปกรณ์ให้ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าแต่ละท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานอย่างสูงสุด
-----------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
• ทำไมถึงควรมีฟิลเตอร์กรองอากาศในที่พักอาศัยและในโรงงานอุตสาหกรรม
• ฟิลเตอร์เพลสผู้ช่วยในการบำบัดน้ำเสียอย่างมีคุณภาพ
• เคล็ดลับในการดูแลแผ่นกรองอากาศ HEPA FILTER เพื่อให้ใช้งานได้อย่างยาวนาน

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน เครื่องประกอบชิ้นงาน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติ รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ชนิดใดบ้างที่นิยมในวงการอุตสาหกรรม

       à¸ªà¸³à¸«à¸£à¸±à¸šà¹ƒà¸™à¸¢à¸¸à¸„ปัจจุบันแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) ได้เข้ามามีบทบาทสำคัญกับวงการอุตสาหกรรมในประเทศไทยมากขึ้น เนื่องจากแขนกลหุ่นยนต์เป็นเครื่องจักรที่ถูกออกแบบควบคุมด้วยระบบอัตโนมัติโดยการเขียนโปรแกรมให้เคลื่อนที่ได้อย่างน้อย 3 แกนหรือมากกว่า ซึ่งแขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot) สามารถออกแบบให้ยึดอยู่กับที่หรือย้ายตำแหน่งไปมาได้ตามความเหมาะสมของประเภทงานที่จะใช้ในงานอุตสาหกรรมนั้นๆ โดยการแบ่งชนิดของหุ่นยนต์จะแบ่งตามลักษณะรูปทรงของพื้นที่ทำงาน (Envelope Geometric) ของจุดต่อ (Joint) ของหุ่นยนต์สามารถแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. ชนิด Revolute (R) เป็นการหมุนรอบแกน (Rotary) 2.Prismatic (P) เป็นการเคลื่อนที่เชิงเส้น (Linear motion) และเมื่อนำจุดต่อของหุ่นยนต์ทั้งสองแบบมาต่อเข้าด้วยกันอย่างน้อย 3 แกนหลักจะได้พื้นที่ทำงาน ( Work envelope) ที่มีลักษณะแตกต่างกันไปก็จะได้ประเภทแขนกลหุ่นยนต์ต่างๆ ใช้ในวงการอุตสาหกรรม

 

แขนกลหุ่นยนต์ (Industrial Robot)

 

 

ประเภทของแขนกลหุ่นยนต์ที่นิยมใช้ในวงการอุตสาหกรรม ได้แก่


1. Cartesian (Gantry) Robot แกนทั้ง 3 ของแขนกลหุ่นยนต์จะเคลื่อนที่เป็นแบบเชิงเส้น (Prismatic) ถ้าโครงสร้างมีลักษณะคล้าย Overhead Crane จะเรียกว่าเป็นหุ่นยนต์ชนิด Gantry แต่ถ้าหุ่นยนต์ไม่มีขาตั้งหรือขาเป็นแบบอื่น เรียกว่า ชนิด Cartesian

ข้อดี

1. เคลื่อนที่เป็นแนวเส้นตรงทั้ง 3 มิติ
2. การเคลื่อนที่สามารถทำความเข้าใจง่าย
3. มีส่วนประกอบง่ายๆ
4. โครงสร้างแข็งแรงตลอดการเคลื่อนที่


ข้อเสีย

1. ต้องการพื้นที่ติดตั้งมาก
2. บริเวณที่หุ่นยนต์เข้าไปทำงานได้ จะเล็กกว่าขนาดของตัวหุ่นยนต์
3. ไม่สามารถเข้าถึงวัตถุจากทิศทางข้างใต้ได้
4. แกนแบบเชิงเส้นจะ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลวได้ยาก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากโครงสร้างมีความแข็งแรงตลอดแนวการเคลื่อนที่ ดังนั้นจึงเหมาะกับงานเคลื่อนย้ายของหนักๆ หรือเรียกว่างาน Pick-and-Place เช่น ใช้โหลดชิ้นงานเข้าเครื่องจักร (Machine loading) ใช้จัดเก็บชิ้นงาน (Stacking) นอกจากนี้ยังสามารถใช้ในงานประกอบ (Assembly) ที่ไม่ต้องการเข้าถึงในลักษณะที่มีมุมหมุน เช่น ประกอบอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และงาน Test ต่างๆ

2. Cylindrical Robot หุ่นยนต์ประเภทนี้จะมีแกนที่ 2 (ไหล่) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) เป็นแบบ Prismatic ส่วนแกนที่ 1 (เอว) จะเป็นแบบหมุน (Revolute) ทำให้การเคลื่อนที่ได้พื้นที่การทำงานเป็นรูปทรงกระบอก

 à¸‚้อดี

1. มีส่วนประกอบไม่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่สามารถเข้าใจได้ง่าย
3. สามารถเข้าถึงเครื่องจักรที่มีการเปิด – ปิด หรือเข้าไปในบริเวณที่เป็นช่องหรือโพรงได้ง่าย (Loading) เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าเครื่อง CNC


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. แกนที่เป็นเชิงเส้นมีความยุ่งยากในการ Seal เพื่อป้องกันฝุ่นและของเหลว


การประยุกต์ใช้งาน

โดยทั่วไปจะใช้ในการหยิบยกชิ้นงาน (Pick-and-Place) หรือป้อนชิ้นงานเข้าเครื่องจักร เพราะสามารถเคลื่อนที่เข้าออกบริเวณที่เป็นช่องโพรงเล็กๆ ได้สะดวก

3. Spherical Robot (Polar) มีสองแกนที่เคลื่อนในลักษณะการหมุน (Revolute Joint) คือแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 2 (ไหล่) ส่วนแกนที่ 3 (ข้อศอก) จะเป็นลักษณะของการเคลื่อนที่แนวเส้นตรง 

ข้อดี

1. มีปริมาตรการทำงานมากขึ้นเนื่องจากการหมุนของแกนที่ 2 (ไหล่)
2. สามารถที่จะก้มลงมาจับชิ้นงานบนพื้นได้สะดวก


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) และส่วนประกอบ ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมมีความซับซ้อนขึ้น


การประยุกต์ใช้งาน

ใช้ในงานที่มีการเคลื่อนที่ในแนวตั้ง (Vertical) เพียงเล็กน้อย เช่น การโหลดชิ้นงานเข้าออกจากเครื่องปั้ม (Press) หรืออาจจะใช้งานเชื่อมจุด (Spot Welding)

 

 à¹à¸‚นกลหุ่นยนต์


4. SCARA Robot จะมีลักษณะแกนที่ 1 (เอว) และแกนที่ 3 (ข้อศอก) หมุนรอบแกนแนวตั้ง และแกนที่ 2 จะเป็นลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นลง (Prismatic) ซึ่งหุ่นยนต์ SCARA จะเคลื่อนที่ได้รวดเร็วในแนวระนาบ และมีความแม่นยำสูง

ข้อดี

1. สามารถเคลื่อนที่ในแนวระนาบ และขึ้นลงได้รวดเร็ว
2. มีความแม่นยำสูง


ข้อเสีย

1. มีพื้นที่ทำงานจำกัด
2. ไม่สามารถหมุน (rotation)ในลักษณะมุมต่างๆได้
3. สามารถยกน้ำหนัก (Payload) ได้ไม่มากนัก


การประยุกต์ใช้งาน

เนื่องจากการเคลื่อนที่ในแนวระนาบและขึ้นลงได้รวดเร็วจึงเหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งต้องการความรวดเร็วและการเคลื่อนที่ก็ไม่ต้องการการหมุนมากนัก แต่จะไม่เหมาะกับงานประกอบชิ้นส่วนทางกล (Mechanical Part) ซึ่งส่วนใหญ่การประกอบจะอาศัยการหมุน (Rotation)ในลักษณะมุมต่างๆ นอกจากนี้ SCARA Robot ยังเหมาะกับงานตรวจสอบ (Inspection) งานบรรจุภัณฑ์ (Packaging)

5. Articulated Arm ทุกแกนการเคลื่อนที่จะเป็นแบบหมุน (Revolute) รูปแบบการเคลื่อนที่จะคล้ายกับแขนคน ซึ่งจะประกอบด้วยช่วงเอว ท่อนแขนบน ท่อนแขนล่าง ข้อมือ การเคลื่อนที่ทำให้ได้พื้นที่การทำงาน 

ข้อดี

1. เนื่องจากทุกแกนจะเคลื่อนที่ในลักษณะ ของการหมุนทำให้มีความยืดหยุ่นสูงในการเข้าไปยังจุดต่างๆ
2. บริเวณข้อต่อ (Joint) สามารถ Seal เพื่อป้องกันฝุ่น ความชื้น หรือน้ำ ได้ง่าย
3. มีพื้นที่การทำงานมาก
4. สามารถเข้าถึงชิ้นงานทั้งจากด้านบน ด้านล่าง
5. เหมาะกับการใช้มอเตอร์ไฟฟ้า เป็นชุดขับเคลื่อน


ข้อเสีย

1. มีระบบพิกัด (Coordinate) ที่ซับซ้อน
2. การเคลื่อนที่และระบบควบคุมทำความ เข้าใจได้ยากขึ้น
3. ควบคุมให้เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง (Linear) ได้ยาก
4.โครงสร้างไม่มั่นคงตลอดช่วงการเคลื่อนที่ เพราะบริเวณขอบ Work Envelope ปลายแขนจะ
5. มีการสั่น ทำให้ความแม่ยำลดลง


การประยุกต์ใช้งาน

หุ่นยนต์ชนิดนี้สามารถใช้งานได้กว้างขวางเพราะสามารถเข้าถึงตำแหน่งต่างๆ ได้ดี เช่น งานเชื่อม Spot Welding, Path Welding, งานยกของ, งานตัด, งานทากาว, งานที่มีการเคลื่อนที่ยากๆ เช่น งานพ่นสี งาน Sealing ฯลฯ

ดังนั้นจะเห็นได้ว่า Industrial Robot นั้นมีหลากหลายประเภท แต่ว่าสิ่งหนึ่งที่หุ่นยนต์อุตสาหกรรมมีประโยชน์เหมือนกัน คือ สามารถช่วยทุ่นแรงในการทำงานต่าง ๆ แทนมนุษย์ได้เป็นอย่างดี เช่น งานยกสินค้าจากสายงานการผลิต งานประกอบ งานเชื่อม งานตัด เป็นต้น

 

บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด


       à¸šà¸£à¸´à¸©à¸±à¸— ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติที่ใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมแบบครบวงจร เช่น เครื่องประกอบชิ้นงาน แขนกลหุ่นยนต์ เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ หุ่นยนต์หยิบจับชิ้นงาน เครื่องจักรระบบอัตโนมัติ รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ เครื่องตรวจสอบและทดสอบชิ้นงาน เครื่องประกอบชิ้นงาน เป็นต้น ซึ่งทางบริษัทฯ รับออกแบบและผลิตเครื่องจักรระบบอัตโนมัติทุกชนิด โดยมีทีมงานผู้เชี่ยวชาญและเทคโนโลยีที่ทันสมัยสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้เป็นอย่างดี ตั้งแต่ช่วยลูกค้าตัดสินในเรื่องการลงทุน ด้านออโตเมชั้น การติดตั้ง การฝึกอบรมการใช้งาน รวมถึงการดูแลรักษาซ่อมบำรุง มีอะไหล่ให้เปลี่ยนตามอายุการใช้งาน
---------------------------------------------------------------------------
บทความที่เกี่ยวข้อง
มาทำความรู้จัก บริษัท ไอ.เอ็ม.อี. รีโวลูชั่น จำกัด
รถขนถ่ายวัสดุอัตโนมัติ สุดยอดตัวช่วยสำหรับอุตสาหกรรมโลจิสติกส์
ตอบโจทย์การประกอบชิ้นงานสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์ ด้วย “เครื่องประกอบชิ้นงาน” เทคโนโลยีสุดล้ำ 

 

____________________________________________________

 

สนใจชมข้อมูลเพิ่มเติมผ่าน Marketplace

 

www.brandexdirectory.com
เว็บไซต์รวมสินค้าอุตสาหกรรมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย

 

www.pagesthai.com
เว็บไซต์รวมรายชื่อโรงงานผลิต ซับคอนแทรค และบริการ

 

www.Brand.co.th
เว็บรวมสินค้าแบรนด์และผู้ผลิตสินค้าแบรนด์

 

www.eeczone.com
เว็บรวมรายชื่อผู้ประกอบการภาคตะวันออก

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15